ความกลมกลืน
(Harmony)
ที่มา : http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
การใช้น้ำหนักเทา
(ขวา) เป็นตัวประสานให้สีดำขาว (ซ้าย)
ลดความขัดแย้งลง
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
หากเพิ่มค่าน้ำหนักตัวประสาน
(สีเทา) ให้มีหลายค่า มากขึ้น ความกลมกลืนก็จะยิ่งเด่นชัดขึ้น
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
สีแดงและสีเขียว
เป็นสีที่ตัดกันอย่างแท้จริง (True
Contrast) มีความแตกต่าง กันอย่างรุนแรง (ซ้าย)
หากเพิ่มน้ำหนักสีดำ
(ขวา)เข้าไปเป็นตัวประสาน ทำให้ความรุนแรงนั้น ลดลง มีความกลมกลืนเกิดขึ้น
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
เส้นตั้งและเส้นนอนที่วางตั้งฉากกัน
(ซ้าย) เป็นทิศทางของเส้นที่ขัดแย้งกัน อย่างรุนแรง หากเพิ่เส้นโค้งเข้าไปเป็นตัวประสาน
(ขวา)
ทำให้ความขัดแย้ง ลดลง เกิดความกลมกลืนขึ้นมาทันที
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
ส้นที่มีลักษณะและทิศทางเหมือนกันย่อมกลมกลืนกัน
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
ภาพจิตรกรรมลัทธิRomanticsm (บน)
และลัทธิ Sur - Realism (ล่าง)
นอกจากจะมีความประสานกันของ น้ำหนัก สี และทิศทางของเส้นแล้ว
ยังมีความกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของแนวคิดการสร้างสรรค์ อีกด้วย
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
การสร้างความกลมกลืนทางด้านรูปแบบและแนวคิด
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
ความกลมกลืนของสีโทนร้อน
(Warm Tone)
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
ความกลมกลืนของสีโทนเย็น
(Cool Tone)
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
สีในโทนร้อน
(Warm Tone) หรือโทนเย็น (Cool Tone) โทนใดโทนหนึ่ง
รวมทั้งสีที่มีน้ำหนักใกล้เคียงกัน ย่อสร้างความกลมกลืนให้เกิดขึ้นได้
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
ภาพนี้แม้จะมีรูปร่าง
สี ที่แตกต่างกัน แต่มีความกลมกลืนเกิดขึ้นจาก การเว้นจังหวะ ช่องว่าง
ของรูปและพื้น
ที่มา
: http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.8harmony/harmony.htm
|